สาระสำคัญ

Sunday, May 31, 2015

PIANGDIN ACADEMY: การยกเลิกเพิกถอนหนังสือเดินทาง หรือ Passport ทำได้...








Thanaboon Chiranuvat
ปํญหาของการไม่ให้หนังสือเดินทาง หรือ Passport =
การยกเลิกเพิกถอนหนังสือเดินทาง หรือ Passport
ทำได้โดยชอบด้วยกฏหมายระหว่างประเทศหรือไม่? (ตอนที่ ๑)


ขณะนี้ได้เกิดคำถามตัวโตๆขึ้น ท่ามกลางจิตใจของคนไทยโดยทั่วไปว่า:
“การทำการเพิกถอน หนังสือเดินทาง (Passport) ของคนไทย ผู้ถือหนังสือเดินทาง
[barer of passport] ที่ออกโดยรัฐบาลไทย [Thai Government])
ที่ถือกำเหนิดเกิดมาโดยพ่อแม่ที่มีสัญชาติไทย
(เป็นคนไทยและได้สัญชาติไทยโดยสายเลือด) และการได้สัญชาติโดยหลักดินแดน
(The Nationality conferred by the Territorial Rights)
จะกระทำได้โดยชอบด้วยกฏหมายหรือไม่?”



การจะตอบคำถามข้อนี้
ก่อนอื่นท่านมีความจำเป็นต้องหารือกับคำว่า “กฏหมาย” ให้ดีเสียก่อนว่า
ถ้อยคำๆนี้ หาได้หมายรวมถึง กฏหมายภายในของประเทศไทย แต่อย่างใดไม่
เพราะในประวัติศาสตร์ของไทยไม่เคยมีการบันทึกเรื่องราวของ
การมีและใช้หนังสือเดินทาง แม้ว่าไทยหรือสยาม
จะเคยติดต่อสัมพันธ์ทางการฑูตกับต่างประเทศ มาแต่สมัยสุโขทัย
จนมาถึงกรุงศรีอยุธยา (ในสมัยแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช)
ที่ส่งราชฑูตจากราชสำนักไทยไปเจริญทางพระราชไมตรีกับประเทศฝรั่งเศสก็ตาม
ประเทศไทยหรือสยาม เพิ่งจะมามีการติดต่อค้าขายกับนานาประเทศอย่างชุก
ก็ในยุคการล่าอาณานิคม (Colonialism)
ซึ่งเริ่มมาตั้งแต่ในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ ๔ เป็นต้นมา แม้กระนั้นก็ไม่มีการบันทึกเรื่องราวถึง
“หนังสือเดินทาง หรือ Passport” แต่อย่างใด


คนไทยที่ได้มีโอกาสศึกษาเกี่ยวกับกฏบัตร
กฏหมายเริ่มมาตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ ๕
ก็ไม่มีการเรียนการสอนในโรงเรียนกฏหมายเน้นหนักไปที่ความสำคัญเกี่ยวกับ
หนังสือเดินทาง หรือ Passport แต่อย่างใด
ทั้งที่ในเวลานั้นเรามีเรื่องของกงศุล และศาลกงศุล
หรือจะเรียกอีกนัยหนึ่งว่า “สิทธิสภาพนอกอาณาเขต หรือ Extra-Territorial
Rights” เข้ามาเกี่ยวข้องผูกพันเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่
เป็นประจำวันของคนไทยในสมัยนั้นแล้วก็ตาม


ในขณะเดียวกันกับประเทศในยุโรปผู้ล่าเมืองขึ้น
กลับมีความเจนจัดและช่ำชองเกี่ยวกับเรื่องกฏหมายกงศุล (Consular Law or
Consular Relations) กฏหมายที่เกี่ยวกับวิถีปฏิบัติในทางการฑูต (Diplomatic
Relations) กฏหมายระหว่างประเทศ (Law of Nations or Classical
International Law) กฏหมายทะเล (Law of the Sea)ไม่ว่าจะเป็นชาวดัชท์,
อังกฤษ, ฝรั่งเศส หรือแม้แต่ชาวเสปญฯ เป็นต้น แต่คนไทย หรือคนในสยามประเทศ
ก็ไม่สนใจในเรื่องที่กล่าวมานี้ วันนี้คนไทยที่เป็นคนส่วนใหญ่
จึงมีความเข้าใจไขว้เขวเกี่ยวกับ คำว่า “กฏหมาย” โดยคิดไปว่า
จำเป็นต้องพิจารณาว่า “กฏหมายของไทย” เท่านั้นที่มีความสำคัญที่สุด






คนไทยไม่จำต้องไปพิจารณาโดยคำนึงถึงคำว่า “
กฏหมายระหว่างประเทศ หรือ Law of Nations or International Law ” เลย
เพราะฉะนั้นคนไทยในทุกวันนี้ เป็นส่วนใหญ่ จึงตกอยู่ในภวังค์ หรือ
ความคิดที่เรียกว่า “โง่ดักดาน” ทั้งๆที่โลกวันนี้ได้ผ่านห้วงเวลาของ “Y to
K” หรือผ่านห้วงเวลาของ Millennium มาแล้ว พูดกันแบบง่ายๆ ผ่านค.ศ. ๒๐๐๐
มาแล้วแบบฉลุย และประเทศของเราเป็นสมาชิกขององค์การสหประชาชาติมาไม่ต่ำกว่า
๗๐ ปี แต่คนไทยก็ยังไม่รู้ซึ้งถึงผลของการไม่ยอมเรียนรู้
และขาดสำนึกกับการไม่ยอมรับว่า กับคำว่า “กฏหมาย” นั้นไม่รวมถึง
“กฏหมายภายใน” ของประเทศไทยอย่างเดียว



แต่ตามความเป็นจริงนั้นให้หมายรวมไปถึง “กฏหมายระหว่างประเทศ หรือ
International Law”หรือ Law of Nationsไปด้วย และการกระทำใด อันจะชอบ
ด้วยครรลองของกฏหมาย สิ่งที่ต้องพิจารณาในลำดับแรกๆ ก็คือ
“ความชอบด้วยกฏหมายระหว่างประเทศ” หรือไม่? มิฉะนั้นเรา
ก็จะมองหาช่องทางให้หลุดรอดออกไปจาก ความวุ่นวาย (Chaos)
ที่เราประสบอยู่ในขณะใดขณะหนึ่งในปัจจุบันนี้ไม่ได้ ถ้าเรา
ยังมะงุมมะงาหรากับ การเที่ยวไปตีความคำว่า “กฏหมาย” เป็นแค่เพียง
“กฏหมายภายในของไทย”เท่านั้น ในรูปแบบนักกฏหมายในโครงร่างของ “ศรีธนญชัย”
ที่ล้าสมัย ต้องถามใจท่านให้ชัดเจนว่า “โลกในวันนี้คือโลกในยุคค.ศ. ๒๐๐๐”


เราไม่อยู่ในห้วงเวลา ที่นับว่า เป็นตอนต้นของคริตศตวรรษที่
๑๗ คือหลังค.ศ. ๑๖๕๐ เรื่อยมาแล้ว เพราะในวันนั้น
ต้องถือว่าโลกยังป่าเถื่อนอยู่ มีการใช้ “กฏโจร” แทนที่ “กฏหมาย”อยู่มาก
มิฉะนั้นไม่เกิดสงครามครูเสด และสงครามโลกทั้งสองครั้งอุบัติขึ้นในโลกใบนี้
ซึ่งไม่นับรวมถึง สงครามอื่นๆอีกหลายสิบครั้งบนพื้นแผ่นดินของยุโรป




กล่าวโดยสรุปคำว่า “กฏหมาย” ย่อมหมายถึง “กฏหมายระหว่างประเทศ
หรือ International Law หรือ Law of Nations” เป็นลำดับแรก
ตามความในลำดับต่อๆไป ในบทความนี้ จึงเป็นเรื่องที่ถูกต้อง คำว่า
“กฏหมายภายในของไทย” หาก จะมีการนำมาใช้ปรับได้ ก็ต่อเมื่อ
“กฏหมายภายในของไทยนั้น
ได้อภิวัฒน์ตามกฏหมายระหว่างประเทศจนทันแก่กาลสมัย” แล้วเท่านั้น.




๑. การขอมีหนังสือเดินทาง หรือ Passport เป็น สิทธิของพลเมือง (The
Application to have the passport is the right of any citizen)
ที่เกิดมาพร้อมกับความเป็นพลเมือง (It is borne out of the citizenship)
ผู้ใดจะปฏิเสธเสียมิได้ (Nobody is entitled to negate or abridge such
right).

ก่อนที่จะเข้าสู่การอธิบายในหัวเรื่องนี้
เห็นควรเน้นย้ำว่าสนธิสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงศุล
ปีค.ศ.๑๙๖๓{The Vienna Convention on Consular Relations, 1963 Article 5
in accordance with Article 36 (1), (2) and (3)} บทบัญญัติที่ ๕ (d)
ประกอบด้วยบทบัญญัติที่ ๓๖ (๑), (๒) และ (๓) บัญญัติให้กงศุล
หรือเจ้าหน้าที่กงศุล
ต้องกระทำการทุกๆอย่างเพื่อเป็นการให้สิทธิแก่คนในชาติของตน
และมิใช่กระทำการใดๆอันเป็นการทำลายสิทธิของคนในชาติของตน



การเพิกถอนสิทธิต่างๆในหนังสือเดินทาง (Passport) หรือ
การยกเลิก เพิกถอนหนังสือเดินทาง (Passport) ล้วนเป็นไป เพื่อ
เป็นการทำลายสิทธิ ของผู้ถือหนังสือเดินทาง (Bearer of the Passport)
ทั้งสิ้น จึงมีคำถามเกิดขึ้นว่า ทำได้ หรือไม่?
คำตอบก็คือทำไม่ได้โดยเด็ดขาด
ซึ่งจะได้ยกตัวอย่างคดีมาให้ท่านผู้อ่านได้เห็น ได้อ่านกันทั้งสองคดี:


คดีหนึ่งพิพากษาโดยศาล Supreme Court ของสหรัฐอเมริกา
ทำหน้าที่เป็นศาลรัฐธรรมนูญ อีกคดีหนึ่งเป็นการตัดสินโดยศาลโลก หรือ The
International Court of Justice, ICJ (แกนหลักที่ ๖ ขององค์การสหประชาชาติ)
เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของกงศุล


ศาลโลกตีความบทบัญญัติที่ ๕ (d) ว่าด้วยอำนาจหน้าที่ของกงศุล
ประกอบบทบัญญัติที่ ๓๖ (๑), (๒) และ (๓)
ของสนธิสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงศุล ปีค.ศ. ๑๙๖๓ (The
Vienna Convention on Consular Relations, 1963)


ทั้งนี้โดยศาลโลกได้ตีความโดยได้เน้นย้ำไป
ที่อำนาจหน้าที่ของกงศุลกับคนในชาติของตนว่า
กงศุลมีหน้าที่ต้องรักษาผลประโยชน์ให้แก่คนในชาติของตนในทุกสถานการณ์
และในบางสถานการณ์ เช่น คนในชาติของตน ถูกจับกุมคุมขัง
อยู่ในระหว่างการดำเนินคดีในประเทศ ที่สถานกงศุลของตนตั้งอยู่
หรือแม้แต่คนในชาติของตน ถูกศาลยุติธรรมพิพากษาหรือ ตัดสินในคดีจนถึงที่สุด
และมีการบังคับคดีในศาลแล้ว โดยศาล
ที่ว่านั้นของประเทศที่สถานกงศุลตั้งอยู่ฯลฯ เป็นต้น กงศุลมีอำนาจหน้าที่ๆ
ต้องปฏิบัติต่อคนในชาติของตนจนถึงที่สุด โดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ
(ให้ไปดูสนธิสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงศุล ปีค.ศ.๑๙๖๓ (The
Vienna Convention on Consular Relations, 1963) ตามที่กล่าวมา


อนึ่งการที่บุคคลที่เป็นคนในชาติไปขอมีหนังสือเดินทาง (Passport)
ไม่ว่าคนในชาติบุคคลคนนั้น จะเกิดการได้สัญชาติมา โดยหลักสายเลือด
(พ่อแม่เป็นคนในชาติสมรสกันแล้ว ก่อเกิดบุคคลผู้นั้นออกมา)
หรือบุคคลผู้นั้นเกิดหรือคลอดออกมาเป็นทารกและมีลมหายใจอยู่รอดในแผ่นดินที่
ตนคลอด อันเรียกว่าได้สัญชาติโดยหลักดินแดน (Acquiring the Nationality by
Territorial Principles) หรือแม้แต่การได้สัญชาติของดินแดน
ที่ตนอยู่อาศัยตามกฏหมาย ที่เรียกว่า “การได้สัญชาติโดยการโอนสัญชาติ”
(Acquiring the Nationality by Naturalization) ก็ตาม
และปรากฏว่าในเวลาต่อมารัฐ หรือ ชาติ (State or Nation)
ปฏิเสธสิทธิที่จะได้มี หรือได้ครอบครองหนังสือเดินทาง (Passport)
ของบุคคลในรัฐหรือชาตินั้น (State or Nation)




การที่รัฐผู้มีหน้าที่ต้องออกหนังสือเดินทาง (Passport)
เพราะบุคคลผู้นั้นเป็นผู้ถือสัญชาติของตน ปฏิเสธไม่ออกหนังสือเดินทาง
ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใดในทางสังคมหรือในทางการเมืองตามความเชื่อของผู้มีสิทธิ
ที่จะได้หนังสือเดินทาง หรือบุคคลผู้นั้น ถูกยกเลิก เพิกถอนหนังสือเดินทาง
(Passport) ที่อยู่ในความครอบครองของตน โดยรัฐ เจ้าของหนังสือเดินทาง
ซึ่งเป็นการกระทำที่เสมอเหมือนกัน หรือเป็นอย่างเดียวกัน นั่นก็คือ
การปฏิเสธไม่ให้บุคคลผู้นั้น มีหนังสือเดินทาง (Passport) ของรัฐหรือชาติ
ที่บุคคลผู้นั้น ถือสัญชาติ และ สังกัดอยู่ และในที่สุดทำให้บุคคลผู้นั้น
กลายเป็นบุคคลไร้รัฐ (Stateless Person)

การที่รัฐปฏิเสธ
ไม่ให้หนังสือเดินทาง= ยกเลิกเพิกถอนหนังสือเดินทางของคนในรัฐ
แก่คนที่ถือสัญชาติของรัฐ, การกระทำของรัฐ=ทำให้บุคคลนั้น
กลายเป็นบุคคลไร้รัฐ (Stateless Person)


และในที่สุดทำให้บุคคลผู้นั้น กลายเป็นบุคคลไร้รัฐ (Stateless Person)
ที่มีสนธิสัญญาว่าด้วย บุคคลไร้รัฐ ของสหประชาชาติ ที่ได้ประกาศ และ
บังคับใช้เพื่อคุ้มครองบุคคลใดๆ ที่ตกอยู่ในสภาพการอย่างที่ว่านั้นอยู่
ซึ่งจะได้นำเสนอในตอนท้ายของบทความนี้ รวมทั้งสหประชาชาติ
มีอำนาจออกหนังสือเดินทางเองโดยอำนาจขององค์การตัวเองเสียด้วยซ้ำไป
ทั้งนี้ก็เพื่อจะปกป้องสิทธิ ที่เกิดมาตามธรรมชาติ (Natural Rights)
ให้แก่มนุษย์ทุกผู้ทุกนาม
ที่ยังมีลมหายใจอยู่บนพื้นพิภพนี้.............(มีต่อ)







PIANGDIN ACADEMY: การยกเลิกเพิกถอนหนังสือเดินทาง หรือ Passport ทำได้...








Thanaboon Chiranuvat
ปํญหาของการไม่ให้หนังสือเดินทาง หรือ Passport =
การยกเลิกเพิกถอนหนังสือเดินทาง หรือ Passport
ทำได้โดยชอบด้วยกฏหมายระหว่างประเทศหรือไม่? (ตอนที่ ๑)


ขณะนี้ได้เกิดคำถามตัวโตๆขึ้น ท่ามกลางจิตใจของคนไทยโดยทั่วไปว่า:
“การทำการเพิกถอน หนังสือเดินทาง (Passport) ของคนไทย ผู้ถือหนังสือเดินทาง
[barer of passport] ที่ออกโดยรัฐบาลไทย [Thai Government])
ที่ถือกำเหนิดเกิดมาโดยพ่อแม่ที่มีสัญชาติไทย
(เป็นคนไทยและได้สัญชาติไทยโดยสายเลือด) และการได้สัญชาติโดยหลักดินแดน
(The Nationality conferred by the Territorial Rights)
จะกระทำได้โดยชอบด้วยกฏหมายหรือไม่?”



การจะตอบคำถามข้อนี้
ก่อนอื่นท่านมีความจำเป็นต้องหารือกับคำว่า “กฏหมาย” ให้ดีเสียก่อนว่า
ถ้อยคำๆนี้ หาได้หมายรวมถึง กฏหมายภายในของประเทศไทย แต่อย่างใดไม่
เพราะในประวัติศาสตร์ของไทยไม่เคยมีการบันทึกเรื่องราวของ
การมีและใช้หนังสือเดินทาง แม้ว่าไทยหรือสยาม
จะเคยติดต่อสัมพันธ์ทางการฑูตกับต่างประเทศ มาแต่สมัยสุโขทัย
จนมาถึงกรุงศรีอยุธยา (ในสมัยแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช)
ที่ส่งราชฑูตจากราชสำนักไทยไปเจริญทางพระราชไมตรีกับประเทศฝรั่งเศสก็ตาม
ประเทศไทยหรือสยาม เพิ่งจะมามีการติดต่อค้าขายกับนานาประเทศอย่างชุก
ก็ในยุคการล่าอาณานิคม (Colonialism)
ซึ่งเริ่มมาตั้งแต่ในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ ๔ เป็นต้นมา แม้กระนั้นก็ไม่มีการบันทึกเรื่องราวถึง
“หนังสือเดินทาง หรือ Passport” แต่อย่างใด


คนไทยที่ได้มีโอกาสศึกษาเกี่ยวกับกฏบัตร
กฏหมายเริ่มมาตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ ๕
ก็ไม่มีการเรียนการสอนในโรงเรียนกฏหมายเน้นหนักไปที่ความสำคัญเกี่ยวกับ
หนังสือเดินทาง หรือ Passport แต่อย่างใด
ทั้งที่ในเวลานั้นเรามีเรื่องของกงศุล และศาลกงศุล
หรือจะเรียกอีกนัยหนึ่งว่า “สิทธิสภาพนอกอาณาเขต หรือ Extra-Territorial
Rights” เข้ามาเกี่ยวข้องผูกพันเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่
เป็นประจำวันของคนไทยในสมัยนั้นแล้วก็ตาม


ในขณะเดียวกันกับประเทศในยุโรปผู้ล่าเมืองขึ้น
กลับมีความเจนจัดและช่ำชองเกี่ยวกับเรื่องกฏหมายกงศุล (Consular Law or
Consular Relations) กฏหมายที่เกี่ยวกับวิถีปฏิบัติในทางการฑูต (Diplomatic
Relations) กฏหมายระหว่างประเทศ (Law of Nations or Classical
International Law) กฏหมายทะเล (Law of the Sea)ไม่ว่าจะเป็นชาวดัชท์,
อังกฤษ, ฝรั่งเศส หรือแม้แต่ชาวเสปญฯ เป็นต้น แต่คนไทย หรือคนในสยามประเทศ
ก็ไม่สนใจในเรื่องที่กล่าวมานี้ วันนี้คนไทยที่เป็นคนส่วนใหญ่
จึงมีความเข้าใจไขว้เขวเกี่ยวกับ คำว่า “กฏหมาย” โดยคิดไปว่า
จำเป็นต้องพิจารณาว่า “กฏหมายของไทย” เท่านั้นที่มีความสำคัญที่สุด






คนไทยไม่จำต้องไปพิจารณาโดยคำนึงถึงคำว่า “
กฏหมายระหว่างประเทศ หรือ Law of Nations or International Law ” เลย
เพราะฉะนั้นคนไทยในทุกวันนี้ เป็นส่วนใหญ่ จึงตกอยู่ในภวังค์ หรือ
ความคิดที่เรียกว่า “โง่ดักดาน” ทั้งๆที่โลกวันนี้ได้ผ่านห้วงเวลาของ “Y to
K” หรือผ่านห้วงเวลาของ Millennium มาแล้ว พูดกันแบบง่ายๆ ผ่านค.ศ. ๒๐๐๐
มาแล้วแบบฉลุย และประเทศของเราเป็นสมาชิกขององค์การสหประชาชาติมาไม่ต่ำกว่า
๗๐ ปี แต่คนไทยก็ยังไม่รู้ซึ้งถึงผลของการไม่ยอมเรียนรู้
และขาดสำนึกกับการไม่ยอมรับว่า กับคำว่า “กฏหมาย” นั้นไม่รวมถึง
“กฏหมายภายใน” ของประเทศไทยอย่างเดียว



แต่ตามความเป็นจริงนั้นให้หมายรวมไปถึง “กฏหมายระหว่างประเทศ หรือ
International Law”หรือ Law of Nationsไปด้วย และการกระทำใด อันจะชอบ
ด้วยครรลองของกฏหมาย สิ่งที่ต้องพิจารณาในลำดับแรกๆ ก็คือ
“ความชอบด้วยกฏหมายระหว่างประเทศ” หรือไม่? มิฉะนั้นเรา
ก็จะมองหาช่องทางให้หลุดรอดออกไปจาก ความวุ่นวาย (Chaos)
ที่เราประสบอยู่ในขณะใดขณะหนึ่งในปัจจุบันนี้ไม่ได้ ถ้าเรา
ยังมะงุมมะงาหรากับ การเที่ยวไปตีความคำว่า “กฏหมาย” เป็นแค่เพียง
“กฏหมายภายในของไทย”เท่านั้น ในรูปแบบนักกฏหมายในโครงร่างของ “ศรีธนญชัย”
ที่ล้าสมัย ต้องถามใจท่านให้ชัดเจนว่า “โลกในวันนี้คือโลกในยุคค.ศ. ๒๐๐๐”


เราไม่อยู่ในห้วงเวลา ที่นับว่า เป็นตอนต้นของคริตศตวรรษที่
๑๗ คือหลังค.ศ. ๑๖๕๐ เรื่อยมาแล้ว เพราะในวันนั้น
ต้องถือว่าโลกยังป่าเถื่อนอยู่ มีการใช้ “กฏโจร” แทนที่ “กฏหมาย”อยู่มาก
มิฉะนั้นไม่เกิดสงครามครูเสด และสงครามโลกทั้งสองครั้งอุบัติขึ้นในโลกใบนี้
ซึ่งไม่นับรวมถึง สงครามอื่นๆอีกหลายสิบครั้งบนพื้นแผ่นดินของยุโรป




กล่าวโดยสรุปคำว่า “กฏหมาย” ย่อมหมายถึง “กฏหมายระหว่างประเทศ
หรือ International Law หรือ Law of Nations” เป็นลำดับแรก
ตามความในลำดับต่อๆไป ในบทความนี้ จึงเป็นเรื่องที่ถูกต้อง คำว่า
“กฏหมายภายในของไทย” หาก จะมีการนำมาใช้ปรับได้ ก็ต่อเมื่อ
“กฏหมายภายในของไทยนั้น
ได้อภิวัฒน์ตามกฏหมายระหว่างประเทศจนทันแก่กาลสมัย” แล้วเท่านั้น.




๑. การขอมีหนังสือเดินทาง หรือ Passport เป็น สิทธิของพลเมือง (The
Application to have the passport is the right of any citizen)
ที่เกิดมาพร้อมกับความเป็นพลเมือง (It is borne out of the citizenship)
ผู้ใดจะปฏิเสธเสียมิได้ (Nobody is entitled to negate or abridge such
right).

ก่อนที่จะเข้าสู่การอธิบายในหัวเรื่องนี้
เห็นควรเน้นย้ำว่าสนธิสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงศุล
ปีค.ศ.๑๙๖๓{The Vienna Convention on Consular Relations, 1963 Article 5
in accordance with Article 36 (1), (2) and (3)} บทบัญญัติที่ ๕ (d)
ประกอบด้วยบทบัญญัติที่ ๓๖ (๑), (๒) และ (๓) บัญญัติให้กงศุล
หรือเจ้าหน้าที่กงศุล
ต้องกระทำการทุกๆอย่างเพื่อเป็นการให้สิทธิแก่คนในชาติของตน
และมิใช่กระทำการใดๆอันเป็นการทำลายสิทธิของคนในชาติของตน



การเพิกถอนสิทธิต่างๆในหนังสือเดินทาง (Passport) หรือ
การยกเลิก เพิกถอนหนังสือเดินทาง (Passport) ล้วนเป็นไป เพื่อ
เป็นการทำลายสิทธิ ของผู้ถือหนังสือเดินทาง (Bearer of the Passport)
ทั้งสิ้น จึงมีคำถามเกิดขึ้นว่า ทำได้ หรือไม่?
คำตอบก็คือทำไม่ได้โดยเด็ดขาด
ซึ่งจะได้ยกตัวอย่างคดีมาให้ท่านผู้อ่านได้เห็น ได้อ่านกันทั้งสองคดี:


คดีหนึ่งพิพากษาโดยศาล Supreme Court ของสหรัฐอเมริกา
ทำหน้าที่เป็นศาลรัฐธรรมนูญ อีกคดีหนึ่งเป็นการตัดสินโดยศาลโลก หรือ The
International Court of Justice, ICJ (แกนหลักที่ ๖ ขององค์การสหประชาชาติ)
เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของกงศุล


ศาลโลกตีความบทบัญญัติที่ ๕ (d) ว่าด้วยอำนาจหน้าที่ของกงศุล
ประกอบบทบัญญัติที่ ๓๖ (๑), (๒) และ (๓)
ของสนธิสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงศุล ปีค.ศ. ๑๙๖๓ (The
Vienna Convention on Consular Relations, 1963)


ทั้งนี้โดยศาลโลกได้ตีความโดยได้เน้นย้ำไป
ที่อำนาจหน้าที่ของกงศุลกับคนในชาติของตนว่า
กงศุลมีหน้าที่ต้องรักษาผลประโยชน์ให้แก่คนในชาติของตนในทุกสถานการณ์
และในบางสถานการณ์ เช่น คนในชาติของตน ถูกจับกุมคุมขัง
อยู่ในระหว่างการดำเนินคดีในประเทศ ที่สถานกงศุลของตนตั้งอยู่
หรือแม้แต่คนในชาติของตน ถูกศาลยุติธรรมพิพากษาหรือ ตัดสินในคดีจนถึงที่สุด
และมีการบังคับคดีในศาลแล้ว โดยศาล
ที่ว่านั้นของประเทศที่สถานกงศุลตั้งอยู่ฯลฯ เป็นต้น กงศุลมีอำนาจหน้าที่ๆ
ต้องปฏิบัติต่อคนในชาติของตนจนถึงที่สุด โดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ
(ให้ไปดูสนธิสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงศุล ปีค.ศ.๑๙๖๓ (The
Vienna Convention on Consular Relations, 1963) ตามที่กล่าวมา


อนึ่งการที่บุคคลที่เป็นคนในชาติไปขอมีหนังสือเดินทาง (Passport)
ไม่ว่าคนในชาติบุคคลคนนั้น จะเกิดการได้สัญชาติมา โดยหลักสายเลือด
(พ่อแม่เป็นคนในชาติสมรสกันแล้ว ก่อเกิดบุคคลผู้นั้นออกมา)
หรือบุคคลผู้นั้นเกิดหรือคลอดออกมาเป็นทารกและมีลมหายใจอยู่รอดในแผ่นดินที่
ตนคลอด อันเรียกว่าได้สัญชาติโดยหลักดินแดน (Acquiring the Nationality by
Territorial Principles) หรือแม้แต่การได้สัญชาติของดินแดน
ที่ตนอยู่อาศัยตามกฏหมาย ที่เรียกว่า “การได้สัญชาติโดยการโอนสัญชาติ”
(Acquiring the Nationality by Naturalization) ก็ตาม
และปรากฏว่าในเวลาต่อมารัฐ หรือ ชาติ (State or Nation)
ปฏิเสธสิทธิที่จะได้มี หรือได้ครอบครองหนังสือเดินทาง (Passport)
ของบุคคลในรัฐหรือชาตินั้น (State or Nation)




การที่รัฐผู้มีหน้าที่ต้องออกหนังสือเดินทาง (Passport)
เพราะบุคคลผู้นั้นเป็นผู้ถือสัญชาติของตน ปฏิเสธไม่ออกหนังสือเดินทาง
ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใดในทางสังคมหรือในทางการเมืองตามความเชื่อของผู้มีสิทธิ
ที่จะได้หนังสือเดินทาง หรือบุคคลผู้นั้น ถูกยกเลิก เพิกถอนหนังสือเดินทาง
(Passport) ที่อยู่ในความครอบครองของตน โดยรัฐ เจ้าของหนังสือเดินทาง
ซึ่งเป็นการกระทำที่เสมอเหมือนกัน หรือเป็นอย่างเดียวกัน นั่นก็คือ
การปฏิเสธไม่ให้บุคคลผู้นั้น มีหนังสือเดินทาง (Passport) ของรัฐหรือชาติ
ที่บุคคลผู้นั้น ถือสัญชาติ และ สังกัดอยู่ และในที่สุดทำให้บุคคลผู้นั้น
กลายเป็นบุคคลไร้รัฐ (Stateless Person)

การที่รัฐปฏิเสธ
ไม่ให้หนังสือเดินทาง= ยกเลิกเพิกถอนหนังสือเดินทางของคนในรัฐ
แก่คนที่ถือสัญชาติของรัฐ, การกระทำของรัฐ=ทำให้บุคคลนั้น
กลายเป็นบุคคลไร้รัฐ (Stateless Person)


และในที่สุดทำให้บุคคลผู้นั้น กลายเป็นบุคคลไร้รัฐ (Stateless Person)
ที่มีสนธิสัญญาว่าด้วย บุคคลไร้รัฐ ของสหประชาชาติ ที่ได้ประกาศ และ
บังคับใช้เพื่อคุ้มครองบุคคลใดๆ ที่ตกอยู่ในสภาพการอย่างที่ว่านั้นอยู่
ซึ่งจะได้นำเสนอในตอนท้ายของบทความนี้ รวมทั้งสหประชาชาติ
มีอำนาจออกหนังสือเดินทางเองโดยอำนาจขององค์การตัวเองเสียด้วยซ้ำไป
ทั้งนี้ก็เพื่อจะปกป้องสิทธิ ที่เกิดมาตามธรรมชาติ (Natural Rights)
ให้แก่มนุษย์ทุกผู้ทุกนาม
ที่ยังมีลมหายใจอยู่บนพื้นพิภพนี้.............(มีต่อ)







การยกเลิกเพิกถอนหนังสือเดินทาง หรือ Passport ทำได้โดยชอบด้วยกฏหมายระหว่างประเทศหรือไม่? (ตอนที่ ๑)

Thanaboon Chiranuvat
ปํญหาของการไม่ให้หนังสือเดินทาง หรือ Passport = การยกเลิกเพิกถอนหนังสือเดินทาง หรือ Passport ทำได้โดยชอบด้วยกฏหมายระหว่างประเทศหรือไม่? (ตอนที่ ๑)
ขณะนี้ได้เกิดคำถามตัวโตๆขึ้น ท่ามกลางจิตใจของคนไทยโดยทั่วไปว่า: “การทำการเพิกถอน หนังสือเดินทาง (Passport) ของคนไทย ผู้ถือหนังสือเดินทาง [barer of passport] ที่ออกโดยรัฐบาลไทย [Thai Government]) ที่ถือกำเหนิดเกิดมาโดยพ่อแม่ที่มีสัญชาติไทย (เป็นคนไทยและได้สัญชาติไทยโดยสายเลือด) และการได้สัญชาติโดยหลักดินแดน (The Nationality conferred by the Territorial Rights) จะกระทำได้โดยชอบด้วยกฏหมายหรือไม่?”

การจะตอบคำถามข้อนี้ ก่อนอื่นท่านมีความจำเป็นต้องหารือกับคำว่า “กฏหมาย” ให้ดีเสียก่อนว่า ถ้อยคำๆนี้ หาได้หมายรวมถึง กฏหมายภายในของประเทศไทย แต่อย่างใดไม่ เพราะในประวัติศาสตร์ของไทยไม่เคยมีการบันทึกเรื่องราวของ การมีและใช้หนังสือเดินทาง แม้ว่าไทยหรือสยาม จะเคยติดต่อสัมพันธ์ทางการฑูตกับต่างประเทศ มาแต่สมัยสุโขทัย จนมาถึงกรุงศรีอยุธยา (ในสมัยแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช) ที่ส่งราชฑูตจากราชสำนักไทยไปเจริญทางพระราชไมตรีกับประเทศฝรั่งเศสก็ตาม ประเทศไทยหรือสยาม เพิ่งจะมามีการติดต่อค้าขายกับนานาประเทศอย่างชุก ก็ในยุคการล่าอาณานิคม (Colonialism) ซึ่งเริ่มมาตั้งแต่ในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ เป็นต้นมา แม้กระนั้นก็ไม่มีการบันทึกเรื่องราวถึง “หนังสือเดินทาง หรือ Passport” แต่อย่างใด
คนไทยที่ได้มีโอกาสศึกษาเกี่ยวกับกฏบัตร กฏหมายเริ่มมาตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ก็ไม่มีการเรียนการสอนในโรงเรียนกฏหมายเน้นหนักไปที่ความสำคัญเกี่ยวกับ หนังสือเดินทาง หรือ Passport แต่อย่างใด ทั้งที่ในเวลานั้นเรามีเรื่องของกงศุล และศาลกงศุล หรือจะเรียกอีกนัยหนึ่งว่า “สิทธิสภาพนอกอาณาเขต หรือ Extra-Territorial Rights” เข้ามาเกี่ยวข้องผูกพันเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่ เป็นประจำวันของคนไทยในสมัยนั้นแล้วก็ตาม
ในขณะเดียวกันกับประเทศในยุโรปผู้ล่าเมืองขึ้น กลับมีความเจนจัดและช่ำชองเกี่ยวกับเรื่องกฏหมายกงศุล (Consular Law or Consular Relations) กฏหมายที่เกี่ยวกับวิถีปฏิบัติในทางการฑูต (Diplomatic Relations) กฏหมายระหว่างประเทศ (Law of Nations or Classical International Law) กฏหมายทะเล (Law of the Sea)ไม่ว่าจะเป็นชาวดัชท์, อังกฤษ, ฝรั่งเศส หรือแม้แต่ชาวเสปญฯ เป็นต้น แต่คนไทย หรือคนในสยามประเทศ ก็ไม่สนใจในเรื่องที่กล่าวมานี้ วันนี้คนไทยที่เป็นคนส่วนใหญ่ จึงมีความเข้าใจไขว้เขวเกี่ยวกับ คำว่า “กฏหมาย” โดยคิดไปว่า จำเป็นต้องพิจารณาว่า “กฏหมายของไทย” เท่านั้นที่มีความสำคัญที่สุด


คนไทยไม่จำต้องไปพิจารณาโดยคำนึงถึงคำว่า “ กฏหมายระหว่างประเทศ หรือ Law of Nations or International Law ” เลย เพราะฉะนั้นคนไทยในทุกวันนี้ เป็นส่วนใหญ่ จึงตกอยู่ในภวังค์ หรือ ความคิดที่เรียกว่า “โง่ดักดาน” ทั้งๆที่โลกวันนี้ได้ผ่านห้วงเวลาของ “Y to K” หรือผ่านห้วงเวลาของ Millennium มาแล้ว พูดกันแบบง่ายๆ ผ่านค.ศ. ๒๐๐๐ มาแล้วแบบฉลุย และประเทศของเราเป็นสมาชิกขององค์การสหประชาชาติมาไม่ต่ำกว่า ๗๐ ปี แต่คนไทยก็ยังไม่รู้ซึ้งถึงผลของการไม่ยอมเรียนรู้ และขาดสำนึกกับการไม่ยอมรับว่า กับคำว่า “กฏหมาย” นั้นไม่รวมถึง “กฏหมายภายใน” ของประเทศไทยอย่างเดียว

แต่ตามความเป็นจริงนั้นให้หมายรวมไปถึง “กฏหมายระหว่างประเทศ หรือ International Law”หรือ Law of Nationsไปด้วย และการกระทำใด อันจะชอบ ด้วยครรลองของกฏหมาย สิ่งที่ต้องพิจารณาในลำดับแรกๆ ก็คือ “ความชอบด้วยกฏหมายระหว่างประเทศ” หรือไม่? มิฉะนั้นเรา ก็จะมองหาช่องทางให้หลุดรอดออกไปจาก ความวุ่นวาย (Chaos) ที่เราประสบอยู่ในขณะใดขณะหนึ่งในปัจจุบันนี้ไม่ได้ ถ้าเรา ยังมะงุมมะงาหรากับ การเที่ยวไปตีความคำว่า “กฏหมาย” เป็นแค่เพียง “กฏหมายภายในของไทย”เท่านั้น ในรูปแบบนักกฏหมายในโครงร่างของ “ศรีธนญชัย” ที่ล้าสมัย ต้องถามใจท่านให้ชัดเจนว่า “โลกในวันนี้คือโลกในยุคค.ศ. ๒๐๐๐”
เราไม่อยู่ในห้วงเวลา ที่นับว่า เป็นตอนต้นของคริตศตวรรษที่ ๑๗ คือหลังค.ศ. ๑๖๕๐ เรื่อยมาแล้ว เพราะในวันนั้น ต้องถือว่าโลกยังป่าเถื่อนอยู่ มีการใช้ “กฏโจร” แทนที่ “กฏหมาย”อยู่มาก มิฉะนั้นไม่เกิดสงครามครูเสด และสงครามโลกทั้งสองครั้งอุบัติขึ้นในโลกใบนี้ ซึ่งไม่นับรวมถึง สงครามอื่นๆอีกหลายสิบครั้งบนพื้นแผ่นดินของยุโรป

กล่าวโดยสรุปคำว่า “กฏหมาย” ย่อมหมายถึง “กฏหมายระหว่างประเทศ หรือ International Law หรือ Law of Nations” เป็นลำดับแรก ตามความในลำดับต่อๆไป ในบทความนี้ จึงเป็นเรื่องที่ถูกต้อง คำว่า “กฏหมายภายในของไทย” หาก จะมีการนำมาใช้ปรับได้ ก็ต่อเมื่อ “กฏหมายภายในของไทยนั้น ได้อภิวัฒน์ตามกฏหมายระหว่างประเทศจนทันแก่กาลสมัย” แล้วเท่านั้น.

๑. การขอมีหนังสือเดินทาง หรือ Passport เป็น สิทธิของพลเมือง (The Application to have the passport is the right of any citizen) ที่เกิดมาพร้อมกับความเป็นพลเมือง (It is borne out of the citizenship) ผู้ใดจะปฏิเสธเสียมิได้ (Nobody is entitled to negate or abridge such right).
ก่อนที่จะเข้าสู่การอธิบายในหัวเรื่องนี้ เห็นควรเน้นย้ำว่าสนธิสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงศุล ปีค.ศ.๑๙๖๓{The Vienna Convention on Consular Relations, 1963 Article 5 in accordance with Article 36 (1), (2) and (3)} บทบัญญัติที่ ๕ (d) ประกอบด้วยบทบัญญัติที่ ๓๖ (๑), (๒) และ (๓) บัญญัติให้กงศุล หรือเจ้าหน้าที่กงศุล ต้องกระทำการทุกๆอย่างเพื่อเป็นการให้สิทธิแก่คนในชาติของตน และมิใช่กระทำการใดๆอันเป็นการทำลายสิทธิของคนในชาติของตน

การเพิกถอนสิทธิต่างๆในหนังสือเดินทาง (Passport) หรือ การยกเลิก เพิกถอนหนังสือเดินทาง (Passport) ล้วนเป็นไป เพื่อ เป็นการทำลายสิทธิ ของผู้ถือหนังสือเดินทาง (Bearer of the Passport) ทั้งสิ้น จึงมีคำถามเกิดขึ้นว่า ทำได้ หรือไม่? คำตอบก็คือทำไม่ได้โดยเด็ดขาด ซึ่งจะได้ยกตัวอย่างคดีมาให้ท่านผู้อ่านได้เห็น ได้อ่านกันทั้งสองคดี:
คดีหนึ่งพิพากษาโดยศาล Supreme Court ของสหรัฐอเมริกา ทำหน้าที่เป็นศาลรัฐธรรมนูญ อีกคดีหนึ่งเป็นการตัดสินโดยศาลโลก หรือ The International Court of Justice, ICJ (แกนหลักที่ ๖ ขององค์การสหประชาชาติ) เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของกงศุล
ศาลโลกตีความบทบัญญัติที่ ๕ (d) ว่าด้วยอำนาจหน้าที่ของกงศุล ประกอบบทบัญญัติที่ ๓๖ (๑), (๒) และ (๓) ของสนธิสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงศุล ปีค.ศ. ๑๙๖๓ (The Vienna Convention on Consular Relations, 1963)
ทั้งนี้โดยศาลโลกได้ตีความโดยได้เน้นย้ำไป ที่อำนาจหน้าที่ของกงศุลกับคนในชาติของตนว่า กงศุลมีหน้าที่ต้องรักษาผลประโยชน์ให้แก่คนในชาติของตนในทุกสถานการณ์ และในบางสถานการณ์ เช่น คนในชาติของตน ถูกจับกุมคุมขัง อยู่ในระหว่างการดำเนินคดีในประเทศ ที่สถานกงศุลของตนตั้งอยู่ หรือแม้แต่คนในชาติของตน ถูกศาลยุติธรรมพิพากษาหรือ ตัดสินในคดีจนถึงที่สุด และมีการบังคับคดีในศาลแล้ว โดยศาล ที่ว่านั้นของประเทศที่สถานกงศุลตั้งอยู่ฯลฯ เป็นต้น กงศุลมีอำนาจหน้าที่ๆ ต้องปฏิบัติต่อคนในชาติของตนจนถึงที่สุด โดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ (ให้ไปดูสนธิสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงศุล ปีค.ศ.๑๙๖๓ (The Vienna Convention on Consular Relations, 1963) ตามที่กล่าวมา
อนึ่งการที่บุคคลที่เป็นคนในชาติไปขอมีหนังสือเดินทาง (Passport) ไม่ว่าคนในชาติบุคคลคนนั้น จะเกิดการได้สัญชาติมา โดยหลักสายเลือด (พ่อแม่เป็นคนในชาติสมรสกันแล้ว ก่อเกิดบุคคลผู้นั้นออกมา) หรือบุคคลผู้นั้นเกิดหรือคลอดออกมาเป็นทารกและมีลมหายใจอยู่รอดในแผ่นดินที่ ตนคลอด อันเรียกว่าได้สัญชาติโดยหลักดินแดน (Acquiring the Nationality by Territorial Principles) หรือแม้แต่การได้สัญชาติของดินแดน ที่ตนอยู่อาศัยตามกฏหมาย ที่เรียกว่า “การได้สัญชาติโดยการโอนสัญชาติ” (Acquiring the Nationality by Naturalization) ก็ตาม และปรากฏว่าในเวลาต่อมารัฐ หรือ ชาติ (State or Nation) ปฏิเสธสิทธิที่จะได้มี หรือได้ครอบครองหนังสือเดินทาง (Passport) ของบุคคลในรัฐหรือชาตินั้น (State or Nation)

การที่รัฐผู้มีหน้าที่ต้องออกหนังสือเดินทาง (Passport) เพราะบุคคลผู้นั้นเป็นผู้ถือสัญชาติของตน ปฏิเสธไม่ออกหนังสือเดินทาง ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใดในทางสังคมหรือในทางการเมืองตามความเชื่อของผู้มีสิทธิ ที่จะได้หนังสือเดินทาง หรือบุคคลผู้นั้น ถูกยกเลิก เพิกถอนหนังสือเดินทาง (Passport) ที่อยู่ในความครอบครองของตน โดยรัฐ เจ้าของหนังสือเดินทาง ซึ่งเป็นการกระทำที่เสมอเหมือนกัน หรือเป็นอย่างเดียวกัน นั่นก็คือ การปฏิเสธไม่ให้บุคคลผู้นั้น มีหนังสือเดินทาง (Passport) ของรัฐหรือชาติ ที่บุคคลผู้นั้น ถือสัญชาติ และ สังกัดอยู่ และในที่สุดทำให้บุคคลผู้นั้น กลายเป็นบุคคลไร้รัฐ (Stateless Person)
การที่รัฐปฏิเสธ ไม่ให้หนังสือเดินทาง= ยกเลิกเพิกถอนหนังสือเดินทางของคนในรัฐ แก่คนที่ถือสัญชาติของรัฐ, การกระทำของรัฐ=ทำให้บุคคลนั้น กลายเป็นบุคคลไร้รัฐ (Stateless Person)
และในที่สุดทำให้บุคคลผู้นั้น กลายเป็นบุคคลไร้รัฐ (Stateless Person) ที่มีสนธิสัญญาว่าด้วย บุคคลไร้รัฐ ของสหประชาชาติ ที่ได้ประกาศ และ บังคับใช้เพื่อคุ้มครองบุคคลใดๆ ที่ตกอยู่ในสภาพการอย่างที่ว่านั้นอยู่ ซึ่งจะได้นำเสนอในตอนท้ายของบทความนี้ รวมทั้งสหประชาชาติ มีอำนาจออกหนังสือเดินทางเองโดยอำนาจขององค์การตัวเองเสียด้วยซ้ำไป ทั้งนี้ก็เพื่อจะปกป้องสิทธิ ที่เกิดมาตามธรรมชาติ (Natural Rights) ให้แก่มนุษย์ทุกผู้ทุกนาม ที่ยังมีลมหายใจอยู่บนพื้นพิภพนี้.............(มีต่อ)

คสช. และเครือข่ายพระราชาไทย กลัว ดร.ทักษิณ จนวิกลจริต????

PIANGDIN ACADEMY: ประยุทธ์ด่าคนรวยมหาศาล แต่ให้ประชาชน ยากจน มิน่า ร...





คลิปลุงตู่ประกาศ! "ขี่เสือให้เป็นต้องฆ่าเสือก่อนลงจากหลัง"..ใครคือเสือมึงระวังตัวไว้เลยสาสสส อ๊บๆ!!...@กบท้ายซอย

Posted by เก๋จะตายThailand on Sunday, May 31, 2015








PIANGDIN ACADEMY: ประยุทธ์ด่าคนรวยมหาศาล แต่ให้ประชาชน ยากจน มิน่า ร...





คลิปลุงตู่ประกาศ! "ขี่เสือให้เป็นต้องฆ่าเสือก่อนลงจากหลัง"..ใครคือเสือมึงระวังตัวไว้เลยสาสสส อ๊บๆ!!...@กบท้ายซอย

Posted by เก๋จะตายThailand on Sunday, May 31, 2015








ประยุทธ์ด่าคนรวยมหาศาล แต่ให้ประชาชน ยากจน มิน่า รีบกลับศิริราช ซะแทบไม่ทัน (ฮา)

คลิปลุงตู่ประกาศ! "ขี่เสือให้เป็นต้องฆ่าเสือก่อนลงจากหลัง"..ใครคือเสือมึงระวังตัวไว้เลยสาสสส อ๊บๆ!!...@กบท้ายซอย

Posted by เก๋จะตายThailand on Sunday, May 31, 2015

"เสี่ยสั่งลุยชวนคิดชวนคุย กับ ดร.เพียงดิน ตอน " ถล่มศักดินาใกล้ตาย อำมาต...







Download








"เสี่ยสั่งลุยชวนคิดชวนคุย กับ ดร.เพียงดิน ตอน " ถล่มศักดินาใกล้ตาย อำมาต...







Download








"เสี่ยสั่งลุยชวนคิดชวนคุย กับ ดร.เพียงดิน ตอน " ถล่มศักดินาใกล้ตาย อำมาต...







Download








วันนี้ต่อให้ไม่มีทักษิณ เขาก็ไม่รักเมิง: ทำไม ขบวนเจ้าไทย ฆ่า ความนิยม ในดร.ทักษิณ ไม่ได้?

เครดิต จากไลน์

เกือบ 10 ปีแล้ว
ที่ทักษิณไม่ได้อยู่ประเทศไทย
แต่คนไทยก็ไม่เคยลืมและยิ่งกว่านั้นคือศรัทธาเขามากขึ้น
ไม่ใช่เพราะชื่อทักษิณ ต่อให้ชื่อไอ้ประยุทธ อิสนธิ คนก็ศรัทธา
แต่เพราะผลงานของเขา
ทักษิณคือสัญลักษณ์ของประชาธิปไตยที่กินได้ และตำแหน่งนายกฯที่เขาได้มาอย่างถูกต้องทำนองคลองธรรม ไม่ได้เอาปืนจ่อหัวประชาชนแล้วบอกว่าหวังดี ต้องการมาช่วย

ทำไมคนไทยส่วนใหญ่ชอบระบอบทักษิณ เพราะผลงานที่เป็นที่ประจักษ์ทั้งในและนอกประเทศในระยะเวลาแค่ 6 ปี ทำให้รากหญ้าลืมตาอ้าปากได้ ทำให้คนทั้งโลกรู้จักประเทศไทย เราก้าวกระโดดอย่างมากบนเวทีโลก

มีผู้นำกี่คนที่คิดเอเชียบอนด์
มีผู้นำกี่คนที่กล้าประกาศกับคนทั้งโลกว่าไม่รับเงินบริจาคสึนามิ เราดูแลตัวเองได้ ขอรับแต่เวชภัณฑ์และความรู้ผู้เชียวชาญ โคตรเท่
มีผู้นำกี่ประเทศที่กล้าต่อสายถึงผู้นำกัมพูชา ห้ามกัมพูชาทำร้ายคนไทยแม้แต่คนเดียว ส่ง c 130 พร้อมหน่วยคอมมานโดไปรับคนไทยถึงบ้านเขา และกัมพูชาต้องรับผิดชอบค่าความเสียหายต่อทรัพย์สินของคนไทยทั้งหมด
มีผู้นำกี่คนที่กล้าประกาศทำสงครามกับยาเสพติด คอรัปชั่นและความจน
เป็นนายกที่สร้างสนามบิน 7 ชั่วโคตรสำเร็จ
สร้างหลักประกันสุขภาพ 30 บาทให้คนไทย  แม้แต่ UN ยังกล่าวยกย่อง
ประธานาธิบดีสหรัฐยังลอกเลียนแบบไปใช้ ในนามโอบามาแคร์
มีผู้นำกี่คนที่เอาไก่ไปแลกเครื่องบิน เหตุเพราะบินได้เหมือนกัน
มีผู้นำกี่คนที่แก้ปัญหาหวัดนกได้เฉียบขาดก่อนประเทศไหนๆ กล้าโชว์กินไก่กลางท้องสนามหลวงแล้วท้า...ใครกินไก่ตายได้ 1 ล้าน

มีมั้ย แก้ปัญหามะนาวแพง ไปปลูกเอง
ยางถูก ไล่ไปขายดาวอังคาร
น้ำแล้ง ขุดบ่อเอาสิ
แล้วไม่ให้คนรักทักษิณ้?! จะให้รักหมาที่ไหน?

บริหารประเทศแค่ 6 ปี มีผลงานมากกว่าพรรคอัปรีย์ที่ก่อตั้งมา 60 กว่าปี
แปลกใจกว่านั้นคือยังมีคนบางจำพวกเลือกและรักพรรคอัปรีย์ทั้งๆที่ไม่เคยมีผลงาน นอกจากไม่มีผลงานยังเอาแต่โกงกิน เลือกมาโกงภาษีตัวเอง เลือกมาโกหก บ่อนทำลายประชาธิปไตย บ่อนทำลายชาติ ถ่วงความเจริญก็ยังเลือก
หาเสียงมา 60 กว่าปี ไม่มีนโยบายไหนเคยทำสำเร็จเป็นรูปธรรม ยังเลือก?!!

สิ่งที่ทำให้คนไทยรักทักษิณคือผลงานและความเสียสละทุ่มเทของเขา ไม่ใช่ชื่อทักษิณ ไม่ใช่ยศ พตท. ไม่ใช่ตำแหน่ง ดร.
คนออกมาปกป้องทักษิณเพราะผลงาน เพราะสำนึกบุญคุณเขา เพราะสิ่งที่เขาสร้างไว้ เพราะต้องการให้เขากลับมาพัฒนาชาติอีก สารพัดเหตุผล

ถอดยศถอดตำแหน่งเขาได้ถอดไป แต่ถอดเขาออกจากใจคนไทยไม่ได้
วันนี้ต่อให้ไม่มีทักษิณ เขาก็ไม่รักเมิง

ชวนคิดชวนคุย ตอน "เสี่ยสั่งลุย"!!!!! โดย ดร.เพียงดิน รักไทย มหาวิทยาลัยประชาชน





มีข้อมูลจากพี่น้องส่งมาครับ


มอง คสช.ให้ขาด แผนอุบาทว์ สร้างผู้ร้ายมาแทนตัวเอง !!! หลังจากที่ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร กล่าวปาฐกถาที่เกาหลีใต้ และได้ให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับการเมืองไทยกับสำนักข่าว Shosun ซึ่งมีเนื้อหาบางตอนได้พูดถึงคำว่า "องคมนตรี ทหาร Palace Circle" ซึ่งทำให้เกิดผลสะเทือนต่อเครือข่ายชนชั้นสูง (Elite) และคนโง่ถือปืนอย่าง คสช. มากพอสมควร - - - - - - - - - - การออกมาพูดเพียงเล็กน้อยในครั้งนี้ แสดงให้เห็นว่า กลุ่มอำนาจเก่า และ คสช. ต้องการยุติบทบาททางการเมืองของพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร จึงพยายามถอนพาสปอร์ต ถอดยศ และสร้างคดีใหม่แก่ทักษิณ ให้ได้ แต่มันไม่ง่ายอย่างนั้นนะ เพราะเหตุใด อยากรู้ ต้องโหลดมาอ่าน ดาวนโหลด เอกสารเพื่ออ่าน ได้ที่นี่ เอกสาร Breakdown Thaksin 29-05-2015 http://www.mediafire.com/…/f6z…/BreakdownThaksin29052015.pdfถ้าเห็นว่า ควรส่งต่อ จะรออะไรอยู่ ? https://www.facebook.com/secret100million/photos/a.219472928250911.1073741828.128043194060552/376678239197045/?type=1

หลักฐานมัดแน่น ผู้ปลงพระชนม์ (ฆ่า) ร. 8 ฉบับสมบูรณ์










Download









หลักฐานมัดแน่น ผู้ปลงพระชนม์ (ฆ่า) ร. 8 ฉบับสมบูรณ์










Download









PIANGDIN ACADEMY: ดาอยากด่า ตอน .."ไอ้ทะเหี้ยควายเหล่ หุงข้าว..ยังไม...





ดารุณี กฤตบุญญาลัย - Darunee Kritboonyalai

ดาอยากด่า ตอน .."ไอ้ทะเหี้ยควายเหล่ หุงข้าว..ยังไม่สุก"

สำรอกรายวัน..โง่เขลา เบาปัญญา บ้าอำนาจ
คนดีคนเก่ง..แต่...
ตกภูมิศาสตร์...น้ำเหนือไหลลงท่วมภาคใต้
ตกประวัติศาสตร์...คนไทยอพยพมาจากเทือกเขาอัลไต
ตกเลขคณิต...ตัวเลขเศรษฐกิจชาติ ตอแหลหลอกลวง
วันนี้...ตกภาษาไทย...เอิ๊กกกกกก

" ฆ่าเสือก่อนลงจากหลังเสือ " ... " เสือ " ที่มึงขี่อยู่
ชื่อ " พยัคฆ์เทวัญ " ของกากเดนสัด..กากสัด นะเฟ้ยยยยยย
มึงบอก..ประชาชนจะอดตาย จะอดแดก...รอไปก่อน
มึงหุงข้าว..ยังไม่สุก... ถ้าสุกแล้ว..พวกมึงจะกินก่อน
กินรวบ..แดกรวบ..ไม่กินแบ่งให้ประชาชนร๊อกกกก!!!!

แถมลงจากหลังเสือ..จะแดกแม่ แดกพ่อ แบบกุก่องข้าวน้อยฆ่าแม่...มึงบอก..ก็กรูหิววววว คนดีที่เนรคุณแม่ ...ทำไม? กรูจะฆ่าแม่พยัคฆ์เทวัญไม่ได้... ก้อออ...กรูหิวเงิน..เอ้ย! หิวข้าวววว 55555

ดาอยากด่า ตอน .."ไอ้ทะเหี้ยควายเหล่ หุงข้าว..ยังไม่สุก"สำรอกรายวัน..โง่เขลา เบาปัญญา บ้าอำนาจ คนดีคนเก่ง..แต่...ตกภู...

Posted by ดารุณี กฤตบุญญาลัย - Darunee Kritboonyalai on Saturday, May 30, 2015











PIANGDIN ACADEMY: ดาอยากด่า ตอน .."ไอ้ทะเหี้ยควายเหล่ หุงข้าว..ยังไม...





ดารุณี กฤตบุญญาลัย - Darunee Kritboonyalai

ดาอยากด่า ตอน .."ไอ้ทะเหี้ยควายเหล่ หุงข้าว..ยังไม่สุก"

สำรอกรายวัน..โง่เขลา เบาปัญญา บ้าอำนาจ
คนดีคนเก่ง..แต่...
ตกภูมิศาสตร์...น้ำเหนือไหลลงท่วมภาคใต้
ตกประวัติศาสตร์...คนไทยอพยพมาจากเทือกเขาอัลไต
ตกเลขคณิต...ตัวเลขเศรษฐกิจชาติ ตอแหลหลอกลวง
วันนี้...ตกภาษาไทย...เอิ๊กกกกกก

" ฆ่าเสือก่อนลงจากหลังเสือ " ... " เสือ " ที่มึงขี่อยู่
ชื่อ " พยัคฆ์เทวัญ " ของกากเดนสัด..กากสัด นะเฟ้ยยยยยย
มึงบอก..ประชาชนจะอดตาย จะอดแดก...รอไปก่อน
มึงหุงข้าว..ยังไม่สุก... ถ้าสุกแล้ว..พวกมึงจะกินก่อน
กินรวบ..แดกรวบ..ไม่กินแบ่งให้ประชาชนร๊อกกกก!!!!

แถมลงจากหลังเสือ..จะแดกแม่ แดกพ่อ แบบกุก่องข้าวน้อยฆ่าแม่...มึงบอก..ก็กรูหิววววว คนดีที่เนรคุณแม่ ...ทำไม? กรูจะฆ่าแม่พยัคฆ์เทวัญไม่ได้... ก้อออ...กรูหิวเงิน..เอ้ย! หิวข้าวววว 55555

ดาอยากด่า ตอน .."ไอ้ทะเหี้ยควายเหล่ หุงข้าว..ยังไม่สุก"สำรอกรายวัน..โง่เขลา เบาปัญญา บ้าอำนาจ คนดีคนเก่ง..แต่...ตกภู...

Posted by ดารุณี กฤตบุญญาลัย - Darunee Kritboonyalai on Saturday, May 30, 2015











ดาอยากด่า ตอน .."ไอ้ทะเหี้ยควายเหล่ หุงข้าว..ยังไม่สุก"

ดารุณี กฤตบุญญาลัย - Darunee Kritboonyalai ดาอยากด่า ตอน .."ไอ้ทะเหี้ยควายเหล่ หุงข้าว..ยังไม่สุก" สำรอกรายวัน..โง่เขลา เบาปัญญา บ้าอำนาจ คนดีคนเก่ง..แต่... ตกภูมิศาสตร์...น้ำเหนือไหลลงท่วมภาคใต้ ตกประวัติศาสตร์...คนไทยอพยพมาจากเทือกเขาอัลไต ตกเลขคณิต...ตัวเลขเศรษฐกิจชาติ ตอแหลหลอกลวง วันนี้...ตกภาษาไทย...เอิ๊กกกกกก " ฆ่าเสือก่อนลงจากหลังเสือ " ... " เสือ " ที่มึงขี่อยู่ ชื่อ " พยัคฆ์เทวัญ " ของกากเดนสัด..กากสัด นะเฟ้ยยยยยย มึงบอก..ประชาชนจะอดตาย จะอดแดก...รอไปก่อน มึงหุงข้าว..ยังไม่สุก... ถ้าสุกแล้ว..พวกมึงจะกินก่อน กินรวบ..แดกรวบ..ไม่กินแบ่งให้ประชาชนร๊อกกกก!!!! แถมลงจากหลังเสือ..จะแดกแม่ แดกพ่อ แบบกุก่องข้าวน้อยฆ่าแม่...มึงบอก..ก็กรูหิววววว คนดีที่เนรคุณแม่ ...ทำไม? กรูจะฆ่าแม่พยัคฆ์เทวัญไม่ได้... ก้อออ...กรูหิวเงิน..เอ้ย! หิวข้าวววว 55555

ดาอยากด่า ตอน .."ไอ้ทะเหี้ยควายเหล่ หุงข้าว..ยังไม่สุก"สำรอกรายวัน..โง่เขลา เบาปัญญา บ้าอำนาจ คนดีคนเก่ง..แต่...ตกภู...

Posted by ดารุณี กฤตบุญญาลัย - Darunee Kritboonyalai on Saturday, May 30, 2015

Saturday, May 30, 2015

ดร.เพียงดิน รักไทย 2015-05-31 ตอน สงครามโลกครั้งที่ 3 และทางรอดประเทศไท...







Download







ดร.เพียงดิน รักไทย 2015-05-31 ตอน สงครามโลกครั้งที่ 3 และทางรอดประเทศไท...







Download







ดร.เพียงดิน รักไทย 2015-05-31 ตอน สงครามโลกครั้งที่ 3 และทางรอดประเทศไท...







Download







หลักฐานมัดแน่น ผู้ปลงพระชนม์ (ฆ่า) ร. 8 ฉบับสมบูรณ์











Download




หลักฐานมัดแน่น ผู้ปลงพระชนม์ (ฆ่า) ร. 8 ฉบับสมบูรณ์











Download




สามัญชนคนไทย : คนไทยกินป่าเป็นอาหาร (30 พ.ค. 58)













ชาติเจริญแล้ว รักษาป่า คนไทยกินป่าเป็นอาหาร (30 พ.ค. 58)













ชาติเจริญแล้ว รักษาป่า คนไทยกินป่าเป็นอาหาร (30 พ.ค. 58)













PIANGDIN ACADEMY: San Andreas - Official Trailer 2 [HD] โลกเราน่ากลั...

















PIANGDIN ACADEMY: San Andreas - Official Trailer 2 [HD] โลกเราน่ากลั...

















PIANGDIN ACADEMY: San Andreas - Official Trailer 2 [HD] โลกเราน่ากลั...

















San Andreas - Official Trailer 2 [HD] โลกเราน่ากลัวครับ

















PIANGDIN ACADEMY: ภาพที่ทำให้ทั่นผู้นำประยุทธ์ เสีย self จนต้องออกกฎ...





ข้อความและภาพส่งมาจากแฟนคลับคสช. อิ ๆ





ข้อห้ามใหม่ล่าสุด ห้ามนำภาพไม่สวยลงเผยแพร่ทางสื่อ..มันไม่ดีต่อภาพพจน์ผู้นำประเทศ .. ใครมีภาพหล่อช่วยหามาลงหน่อยเถอะ.










PIANGDIN ACADEMY: ภาพที่ทำให้ทั่นผู้นำประยุทธ์ เสีย self จนต้องออกกฎ...





ข้อความและภาพส่งมาจากแฟนคลับคสช. อิ ๆ





ข้อห้ามใหม่ล่าสุด ห้ามนำภาพไม่สวยลงเผยแพร่ทางสื่อ..มันไม่ดีต่อภาพพจน์ผู้นำประเทศ .. ใครมีภาพหล่อช่วยหามาลงหน่อยเถอะ.










ภาพที่ทำให้ทั่นผู้นำประยุทธ์ เสีย self จนต้องออกกฎหมายห้าม เฮ่ะ ๆ ๆ

ข้อความและภาพส่งมาจากแฟนคลับคสช. อิ ๆ


ข้อห้ามใหม่ล่าสุด ห้ามนำภาพไม่สวยลงเผยแพร่ทางสื่อ..มันไม่ดีต่อภาพพจน์ผู้นำประเทศ .. ใครมีภาพหล่อช่วยหามาลงหน่อยเถอะ.

PIANGDIN ACADEMY: ใครสั่งฆ่า? ... วางระเบิดเครื่องบินทักษิณ 3 มีนาคม...

ใครสั่งฆ่า? ... วางระเบิดเครื่องบินทักษิณ 3 มีนาคม 2544










วางระเบิดเครื่องบินทักษิณ 3 มีนาคม 2544



วันที่ 3 มีนาคม 2544 หลายคนยังจำกันได้ในสมัย "พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร" เป็นนายกรัฐมนตรีในครั้งนั้นเป็นข่าว
ครึกโครมไปทั่วประเทศและทั่วโลกเมื่อ เครื่องบินของสายการบินไทย ที่จอดเทียบท่าอยู่สนามบินดอนเมืองเพื่อรอ
รับผู้โดยสารบินไปยังจังหวัดเชียงใหม่ โดยหนึ่งในผู้โดยสารในเที่ยวบินดังกล่าวก็มีผู้นำของประเทศ"พ.ต. ต.ทักษิณ"
ก่อนที่ผู้โดยสาร ขึ้นเครื่องไม่กี่นาที เครื่องบินลำดังกล่าวเกิดระเบิดขึ้น กลางสนามบินดอนเมือง สร้างความแตก
ตื่นให้กับผู้คนจำนวนมาก โชคดีของผู้โดยสารที่ยังไม่มีใครขึ้นบนเครื่องบิน  จึงไม่มีใครสังเวยชีวิตในครั้งนั้น แต่ก็เป็น
ที่กังขาของหลายฝ่ายว่าระเบิดเครื่องบินไทยครั้งนั้นเกิดจากเหตุอะไรกันแน่


ลอบวางระเบิดนายกฯ..? วินาศกรรม..? ความประมาท..? อุบัติเหตุ..?
จนวันนี้คำถามเหล่านี้ก็ยังไม่ได้รับความชัดเจน

24 ชั่วโมงของทักษิณ : บทที่ 1 เสียงโทรศัพท์ยามรุ่งอรุณ (ตอนที่1)


       
นี่ไม่ใช่ครั้งแรกที่
ทักษิณเอาชีวิตรอดมาได้ ย้อนกลับไปเมื่อวันที่
5 มีนาคม2544



เมื่อเขาได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเพียง 25 วัน  เขาก็ได้รับรู้รสชาติของการถูกลอบสังหารในวันนั้น

เครื่องบินโบอิ้ง 747 ลำหนึ่งของการบินไทยซึ่งบรรทุกผู้โดยสารจำนวน 129 คน เดินทางจากกรุงเทพฯ  ไปยัง
จังหวัดเชียงใหม่ผู้โดยสารบนเครื่องซึ่งรวมทั้งทักษิณที่เพิ่งได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีพร้อมด้วยลูกชายรวมทั้ง
ข้าราชการจำนวน 20 คนเตรียมพร้อมขึ้นเครื่องวินาทีที่เครื่องบินเตรียมทะยานขึ้นสู่ท้องฟ้านั้นที่นั่งชั้นหนึ่งหมาย
เลข 11A ที่เขาได้จองไว้เกิดระเบิดขึ้นกะทันหัน ผู้โดยสารที่อยู่บริเวณรอบๆที่นั่งนั้น ได้รับบาดเจ็บจำนวนมากแต่
ที่โชคดีก็คือ ที่นั่งนี้ไม่มีใครนั่งอยู่ในตอนนั้น ทักษิณผู้ซึ่งตรงต่อเวลามาโดย   ตลอดตัดสินใจที่จะรอลูกชายซึ่งก็
คือ นายพานทองแท้  ที่มาถึงช้า วันนั้นลูกชายก็ไม่ทราบสาเหตุ  ว่าทำไมถึงมาช้า 25 นาที แต่ในที่สุดก็ได้ช่วย
ชีวิตพ่อของตนไว้ได้







Boeing  737-400